หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต M.P.A.
สาขา นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ
สาขา นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ
ระยะเวลาศึกษา M.P.A.
1 ปีครึ่ง
01
เปิดสอน 2 พื้นที่
พื้นที่ศาลายา และ วิทยาเขตวังไกลกังวล
02
เปิดภาคพิเศษ
วันอาทิตย์
03
ค่าลงทะเบียนเรียน
ชำระเป็นงวดได้
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต M.P.A.
สาขา นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ
ภาษาอังกฤษ Master of Public Administration Program in Public Management Innovation
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ)
ชื่อย่อภาษาไทย รป.ม. (นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Master of Public Administration (Public Management Innovation)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ M.P.A. (Public Management Innovation)
สาขาวิชา
นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2 ศึกษารายวิชา27 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต รวม 39 หน่วยกิต
แผน ข ศึกษารายวิชา 33 หน่วยกิต และทำการค้นคว้าอิสระ 6 หน่วยกิต รวม 39 หน่วยกิต
แผนการศึกษา
รายละเอียด | จำนวนหน่วยกิต | |
แผน ก 2 ทำวิทยานิพนธ์ | แผน ข ทำการค้นคว้าอิสระ | |
กลุ่มวิชาเสริมพื้นฐาน (1 รายวิชา) | ไม่นับหน่วยกิต | ไม่นับหน่วยกิต |
รายวิชา | ||
กลุ่มวิชาแกนบังคับ | 21 | 21 |
กลุ่มวิชาเลือก | 6 | 12 |
วิทยานิพนธ์ | 12 | – |
การค้นคว้าอิสระ | – | 6 |
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร | 39 หน่วยกิต | 39 หน่วยกิต |
........................................................................................
จุดเด่น
- สอนโดยคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีคุณภาพและมากประสบการณ์
- เนื้อหาการสอนสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโลกปัจจุบัน
- เน้นการเป็นผู้บริหารและผู้ปฏิบัติที่ทันสมัย เข้าใจโลก รู้จริง และนำไปปฏิบัติได้จริง
- มีศึกษาดูงานการดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ
- การค้นคว้าอิสระ วิทยานิพนธ์ และความสามารถของบัณฑิตที่เป็นที่ยอมรับของสังคม
- คณาจารย์พร้อมให้คำปรึกษา เพื่อให้จบตามระยะเวลา
- เส้นทางสู่ความสำเร็จ เพียง 18 เดือน
แนวทางการประกอบอาชีพ
- ผู้บริหารที่สังกัดอยู่ในหน่วยงานราชการ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรไม่แสวงหากำไร องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ หน่วยงานเอกชน
- นักการเมืองและข้าราชการทางการเมือง
- บุคลากรในหน่วยงานราชการ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรไม่แสวงหากำไร องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ หน่วยงานเอกชน
- อาจารย์และนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์
- ข้าราชการทหาร ตำรวจ และเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง
- อาชีพอิสระอื่น ๆ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต M.P.A. (นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ)
พื้นที่ศาลายา และ วิทยาเขตวังไกลกังวล
วุฒิการศึกษา
Ph.D. (Public Administration)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
Ph.D. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต)
วุฒิการศึกษา
รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
รป.ด. (นโยบายสาธารณะ)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (นวัตกรรมการบริหารการจัดการรัฐกิจ)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
................................................................................................
อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ
- ศ.ดร.โกวิทย์ พวงงาม
- ศ.ดร.บุญทัน ดอกไธสง
- ศ.ดร.สมบูรณ์ สุขสำราญ
- ศ.ดร.ไชยา ยิ้มวิไล
- ศ.ดร.อัมพร ธำรงลักษณ์
- ศ.กิตติคุณ ดร.สุเทพ เชาวลิต
- รศ.ดร.อุดมวิทย์ ไชยสกุลเกียรติ
- รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์
- รศ.ดร.ปฐม มณีโรจน์
อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ
- รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล
- รศ.ดร.พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์
- รศ.ดร.อติพร เกิดเรือง
- ผศ.ดร.สมคิด ดวงจักร์
- ผศ.ดร.เพ็ชรัตน์ ไสยสมบัติ
- ดร.รัชฎา จิวาลัย
- ดร.พรชัย ฐีระเวช
- ดร.เจริญพงษ์ ศุภธีระธาดา
ค่าธรรมเนียมการศึกษา
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต M.P.A. (นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ)
ภาคพิเศษ (วันอาทิตย์) | |||
เฉพาะนักศึกษาที่เข้าเรียน (ภาคการศึกษาที่ 1) | เฉพาะนักศึกษาที่เข้าเรียน (ภาคการศึกษาที่ 2) | ||
แบบเหมาจ่าย | |||
ภาคการศึกษาที่ 1 | 45,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 2 | 36,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ 2 | 36,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ ฤดูร้อน | 27,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ ฤดูร้อน | 27,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 1 | 45,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ 3 | 27,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 2 | 27,000 บาท |
รวม | 135,000 บาท | รวม | 135,000 บาท |
แบบแบ่งชำระ | |||
งวดที่ 1 | 9,000 บาท | งวดที่ 1 | 9,000 บาท |
งวดที่ 2 – 15 | 9,000 บาท | งวดที่ 2 – 15 | 9,000 บาท |
รวม | 135,000 บาท | รวม | 135,000 บาท |
ภาคพิเศษ อังคาร / พฤหัสบดี | |||
เฉพาะนักศึกษาที่เข้าเรียน (ภาคการศึกษาที่ 1) | เฉพาะนักศึกษาที่เข้าเรียน (ภาคการศึกษาที่ 2) | ||
แบบเหมาจ่าย | |||
ภาคการศึกษาที่ 1 | 39,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 2 | 31,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ 2 | 32,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ ฤดูร้อน | 24,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ ฤดูร้อน | 24,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 1 | 40,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ 3 | 24,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 2 | 24,000 บาท |
รวม | 119,000 บาท | รวม | 119,000 บาท |
แบบแบ่งชำระ | |||
งวดที่ 1 | 7,000 บาท | งวดที่ 1 | 7,000 บาท |
งวดที่ 2 – 15 | 8,000 บาท | งวดที่ 2 – 15 | 8,000 บาท |
รวม | 119,000 บาท | รวม | 119,000 บาท |
ค่าธรรมเนียมการสอบ | |||
ลำดับ | ประเภทของค่าธรรมเนียม | จำนวนเงิน (บาท) | หมายเหตุ |
1. | ค่าสอบประมวลความรู้ ครั้งละ | 2,000 | |
2. | ค่าสอบการค้นคว้าอิสระ ครั้งละ | 7,500 | เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง |
3. | ค่าสอบวิทยานิพนธ์ ครั้งละ | 12,500 | เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง |
หมายเหตุ: ค่ารักษาสภาพ ระดับปริญญาโท 5,000 บาท ต่อภาคการศึกษาปกติ