หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต D.P.A.
สาขา นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ
สาขา นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ
ระยะเวลาศึกษา D.P.A.
3 ปี
01
เปิดสอน 1 พื้นที่
พื้นที่ศาลายา
02
เปิดภาคพิเศษ
วันอาทิตย์
03
ค่าลงทะเบียนเรียน
ชำระเป็นงวดได้
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต D.P.A.
สาขา นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ
ภาษาอังกฤษ Doctor of Public Administration Program in Public Management Innovation
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ D.P.A. (Public Management Innovation)
วิชาเอก
ไม่มี
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
แผน 1.1 (เน้นการทำวิจัย) ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
แผนการศึกษา
รายการ | จำนวนหน่วยกิต | |
แผน 1.1 (เน้นการทำวิจัย) | แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและการทำวิทยานิพนธ์) | |
รายวิชา | ||
1. กลุ่มวิชาพื้นฐาน | 2 รายวิชา (ไม่นับหน่วยกิต) | 1 รายวิชา (ไม่นับหน่วยกิต) |
2. รายวิชา (Course work) 2.1 กลุ่มวิชาบังคับ (Core Course) 2.2 กลุ่มวิชาเลือก (Elective Course) | – – – | – 3 วิชา (9) 1 วิชา (3) |
3. วิทยานิพนธ์ | 48 หน่วยกิต | 36 หน่วยกิต |
1)วิทยานิพนธ์ 1 | (9) | (9) |
2)วิทยานิพนธ์ 2 | (9) | (9) |
3)วิทยานิพนธ์ 3 | (12) | (9) |
4)วิทยานิพนธ์ 4 | (9) | (9) |
5)วิทยานิพนธ์ 5 | (9) | – |
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร | 48 หน่วยกิต | 48 หน่วยกิต |
........................................................................................
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
เป็นผู้สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาที่หลักสูตรกำหนด จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (กพ.) หรือสำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) ให้การรับรองวิทยฐานะและรับรองปริญญาแล้ว
มีคะแนนผลการเรียนเฉลี่ยสะสมระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระดับคะแนน 4.00 กรณีที่ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมน้อยกว่า 3.00 อาจได้รับการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการวิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ ให้มีสิทธิ์สมัครสอบคัดเลือกเข้าศึกษาได้ หรือในกรณีที่มีประสบการณ์ในการทำงานไม่ต่ำกว่า 3 ปี นับตั้งแต่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการประจำหลักสูตรในการให้สิทธิ์สมัครสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในหลักสูตร
- เป็นผู้มีความประพฤติดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีสุขภาพแข็งแรง และไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง
จุดเด่น
- สอนโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีคุณภาพ มากประสบการณ์และเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ
ด้านรัฐประศาสนศาสตร์และการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ - มีกรอบการศึกษาเพื่อให้สามารถจบภายในระยะเวลาที่กำหนด
- มีอาจารย์ที่ปรึกษาดูแลและติดตาม
- เตรียมความพร้อมให้สามารถทำดุษฎีนิพนธ์ได้ทันทีภายหลังจบ coursework
- มีโครงการส่งเสริมการเรียนภาษาอังกฤษ
- คณาจารย์พร้อมให้คำปรึกษา เพื่อให้จบตามระยะเวลา
แนวทางการประกอบอาชีพ
- ผู้บริหารที่สังกัดอยู่ในหน่วยงานราชการ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรไม่แสวงหากำไร องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ หน่วยงานเอกชน
- นักการเมืองและข้าราชการทางการเมือง
- บุคลากรในหน่วยงานราชการ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรไม่แสวงหากำไร องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ หน่วยงานเอกชน
- อาจารย์และนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์
- ข้าราชการทหาร ตำรวจ และเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง
- อาชีพอิสระอื่น ๆ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต D.P.A. (สาขานวัตกรรมการจัดการภาครัฐ)
วุฒิการศึกษา
Ph.D. (Public Administration)
วุฒิการศึกษา
Ph.D. (Development Administration)
วุฒิการศึกษา
Ph.D. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต)
วุฒิการศึกษา
รป.ด. (นโยบายสาธารณะ)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (นวัตกรรมการบริหารการจัดการรัฐกิจ)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วุฒิการศึกษา
รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
................................................................................................
อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ
- ศ.ดร.โกวิทย์ พวงงาม
- ศ.ดร.บุญทัน ดอกไธสงค์
- ศ.ดร.สมบูรณ์ สุขสำราญ
- ศ.กิตติคุณ ดร.สุเทพ เชาวลิต
- รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์
- รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล
- รศ.ดร.พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์
อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ
- รศ.ดร.อุดมวิทย์ ไชยสกุลเกียรติ
- รศ.ดร.อติพร เกิดเรือง
- ผศ.ดร.สมคิด ดวงจักร์
- ผศ.ดร.เพ็ชรัตน์ ไสยสมบัติ
- ดร.รัชฎา จิวาลัย
- ดร.พรชัย ฐีระเวช
- ดร.เจริญพงษ์ ศุภธีระธาดา
ค่าธรรมเนียมการศึกษา
รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต D.P.A. (สาขานวัตกรรมการจัดการภาครัฐ)
ภาคพิเศษ (วันอาทิตย์) | |||
เฉพาะนักศึกษาที่เข้าเรียน (ภาคการศึกษาที่ 1) | เฉพาะนักศึกษาที่เข้าเรียน (ภาคการศึกษาที่ 2) | ||
แบบเหมาจ่าย | |||
ภาคการศึกษาที่ 1 | 85,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 2 | 68,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ 2 | 68,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 1 | 85,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ 1 | 85,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 2 | 68,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ 2 | 68,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 1 | 85,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ 1 | 85,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 2 | 68,000 บาท |
ภาคการศึกษาที่ 2 | 34,000 บาท | ภาคการศึกษาที่ 1 | 51,000 บาท |
รวม | 425,000 บาท | รวม | 425,000 บาท |
แบบแบ่งชำระ | |||
งวดที่ 1 | 17,000 บาท | งวดที่ 1 | 17,000 บาท |
งวดที่ 2 – 25 | 17,000 บาท | งวดที่ 2 – 25 | 17,000 บาท |
รวม | 425,000 บาท | รวม | 425,000 บาท |
ค่าธรรมเนียมการสอบ | |||
ลำดับ | ประเภทของค่าธรรมเนียม | จำนวนเงิน (บาท) | หมายเหตุ |
1. | ค่าสอบวัดคุณสมบัติ ครั้งละ | 15,000 | |
2. | ค่าสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ครั้งละ | 30,000 | |
3. | ค่าสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ครั้งละ | 30,000 |
หมายเหตุ: ค่ารักษาสภาพ ระดับปริญญาเอก 50,000 บาท ต่อภาคการศึกษาปกติ